1.การรักษาความปลอดภัย ระดับผู้นำ
หัวข้ออบรม (24 ชั่วโมง):
- วิชาบทบาทหน้าที่ของผู้นำ
- วิชาเทคนิคการเป็นผู้นำ
- วิชาการบริหารจัดการในหน่วยงาน
- วิชาการรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ที่รับผิดชอบ และการเขียนรายงาน
- วิชาการใช้เครื่องมือเทคนิคในระบบการรักษาความปลอดภัย
- วิชาเทคนิคการสังเกตบุคคล ยานพาหนะและทรัพย์สิน
- วิชาการป้องกันอาชญากรรมและการระงับเหตุเบื้องต้น
- วิชาการป้องกันและระงับอัคคีภัย
- วิชาการต่อสู้ป้องกันตัว
2.หลักสูตรการรักษาความปลอดภัย ระดับครูฝึก
หัวข้ออบรม (40 ชั่วโมง):
- หลักการเป็นผู้นำ
- จรรยาบรรณครู
- คุณธรรม จริยธรรม
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัย
- การรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน
- การเขียนรายงาน
- การเตรียมพร้อมกรณีเหตุฉุกเฉิน
- การติดต่อสื่อสาร
- หลักการใช้กำลัง
- การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- การจัดการจราจร
- การฝึกภาคสนาม
- การฝึกเป็นครูผู้สอน
3.หลักสูตรการป้องกันอันตรายจากวัตถุระเบิด (หน่วย EOD)
หัวข้อการอบรม:
- ความหมายของวัตถุระเบิด
- คำแนะนำสำหรับผู้ประกอบการและพนักงานเพื่อช่วยตรวจสอบและแจ้งกรณีมีสิ่งผิดปกติหรือเหตุน่าสงสัยในการก่อการร้าย
- การตรวจสอบผู้ก่อการร้าย
- การตรวจค้นสถานที่/พื้นที่ต้องสงสัยบริเวณนอกอาคาร ในอาคาร การตรวจค้นยานพาหนะ
- การปฏิบัติเมื่อมีเหตุพบวัตถุต้องสงสัย พบวัตถุระเบิด กรณีขู่วางระเบิด กรณีเกิดการระเบิดขึ้นแล้ว
- มาตรการการรักษาความปลอดภัย
4.โรงเรียนฝึกวิชาชีพรักษาความปลอดภัย ณ วัลลภ
โดยรับรองจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) กระทรวงศึกษาธิการได้รับอนุญาตเป็นแห่งแรกจากกระทรวงศึกษาธิการประเภทโรงเรียนนอกระบบ ให้เปิดสอนเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2539
- หลักสูตร วิชาการรักษาความปลอดภัย: ใช้เวลาเรียน 192 ชั่วโมง
- หลักสูตร การรักษาความปลอดภัยระดับผู้นำ: ใช้เวลาเรียน 24 ชั่วโมง
- หลักสูตร พนักงานรักษาความปลอดภัย: ใช้เวลาเรียน 32 ชั่วโมง
5.หลักสูตรการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือชีวิตเบื้องต้น
หัวข้ออบรม (6 ชั่วโมง):
- ความหมายและวัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล
- หลักการปฏิบัติการปฐมพยาบาล
- การห้ามเลือด
- การปฐมพยาบาลแผลฟกช้ำและห้อเลือด
- การปฐมพยาบาลแผลฉีกขาด
- หลักการปฐมพยาบาลผู้หมดสติเนื่องจากเป็นลม
• การช่วยเหลือผู้หมดสติเนื่องจากเป็นลม
• การช่วยเหลือผู้หมดสติเนื่องจากช็อก
• การช่วยเหลือผู้หมดสติเนื่องจากการชัก
• การช่วยเหลือผู้ที่ได้รับสารพิษหรือสารเคมีต่าง ๆ
• การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากการเกิดอุบัติเหตุต่าง ๆ และการเข้าเฝือกแบบต่าง ๆ
- หลักการปฐมพยาบาลแผลไฟไหม้และน้ำลวก
- การปฐมพยาบาลสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย
- การปฐมพยาบาลสิ่งมีพิษกัดต่อย
- หลักการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บอย่างถูกต้อง
- หลักการใช้ผ้าพันแผลเพื่อการปฐมพยาบาลอย่างถูกต้อง
- การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องฝึกสอนกระตุกไฟฟ้าหัวใจ CPR และ AED
6.หลักสูตรความรู้พื้นฐาน ระบบกล้องวงจรปิด
หัวข้อการอบรม (ภาคทฤษฎี 1 ชั่วโมง | ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง):
- ประวัติระบบกล้องวงจรปิด
- ประโยชน์ของระบบกล้องวงจรปิด
- องค์ประกอบที่สำคัญของระบบกล้องวงจรปิด
- ประเภทของสัญญาณกล้องวงจรปิด
- ความแตกต่างระหว่างกล้องอนาล็อก (Analog Camera) กับกล้องดิจิตอล (IP Camera)
- ประเภทการติดตั้งของกล้องวงจรปิด
- ขั้นตอนการใช้งานระบบกล้องวงจรปิด
- ตัวอย่างการใช้งานระบบกล้องวงจรปิด
- การทดสอบระบบเบื้องต้นสำหรับกล้องวงจรปิด
- วิธีแก้ปัญหากล้องวงจรปิดเบื้องต้น
8.หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานสารเคมี
หัวข้อการอบรม (12 ชั่วโมง):
ภาคทฤษฎี หัวข้อวิชาดังนี้
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการบัญชาการเหตุการณ์
- บทบาทในงานด้านสารเคมีและวัตถุอันตรายในระดับผู้ปฏิบัติงานสารเคมีและวัตถุอันตรายที่โต้ตอบเหตุกลุ่มแรกในระดับการตระหนักรู้
- ลักษณะทางกายภาพ พิษวิทยา เทคนิคการตระหนักรู้ การเก็บรวบรวมข้อมูลและการแปรผลข้อมูลอันตราย ในระดับผู้ปฏิบัติงานสารเคมีและวัตถุอันตรายที่โต้ตอบเหตุกลุ่มแรกในระดับการตระหนักรู้
- อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลและการป้องกันระบบทางเดินหายใจ
- มาตรฐานการปฏิบัติงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานสารเคมีและวัตถุอันตรายที่โต้ตอบเหตุกลุ่มแรกในระดับการตระหนักรู้
- การสื่อสารในระดับผู้ปฏิบัติงานสารเคมีและวัตถุอันตรายที่โต้ตอบเหตุกลุ่มแรกในระดับการตระหนักรู้
- การกักกั้น กักเก็บ และล้างพิษ ระดับผู้ปฏิบัติงานสารเคมีและวัตถุอันตรายที่โต้ตอบเหตุกลุ่มแรกในระดับการตระหนักรู้
- แอพพลิเคชั่นที่เกี่ยวข้อง ระดับผู้ปฏิบัติงานสารเคมีและวัตถุอันตรายที่โต้ตอบเหตุกลุ่มแรกในระดับการตระหนักรู้ที่โต้ตอบเหตุกลุ่มแรกในระดับการตระหนักรู้
ภาคปฏิบัติ หัวข้อวิชาดังนี้
- ทบทวนการใช้สายน้ำและหัวฉีด
- จำลองสถานการณ์ แก๊ส LPG รั่วไหล
- จำลองสถานการณ์ หม้อต้มระเบิด
- จำลองสถานการณ์ น้ำมันหกรั่วไหล
- จำลองสถานการณ์ สารเคมีแอมโมเนียรั่วไหล
- จำลองสถานการณ์ ทางรังสี รั่วไหล
- จำลองสถานการณ์ ก๊าซไนโตรเจนรั่วไหล
- ประเมินและสรุปการจำลองสถานการณ์
10.หลักสูตรความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)
หัวข้อการอบรม (ภาคทฤษฎี 1 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 1 ชั่วโมง):
- หลักการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล
- ข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย
- ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป (Personal Data)
- ข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความละเอียดอ่อน(Sensitive Personal Data)
- ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคล
- สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
- ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานของพนักงาน
- รักษาความปลอดภัยภายใต้กฎหมาย PDPA
- ความรับผิดชอบและบทลงโทษ
หลักสูตรมีการฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและการปฏิบัติ เมื่อจบหลักสูตรจะได้รับวุฒิบัตรเป็นรายบุคคล
- อัตรา 450 บาท ต่อคน (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)
- รุ่นละไม่ต่ำกว่า 25 คน